บทความ

“ก้าวสู่นักบริหารจัดการใน 1 วัน”

รูปภาพ
    การเข้าสู่ลีนนั้น ขาด 5 ส ไม่ได้นะครับ ( เด็ดขาด !)   5 ส แบบเจาะลึกนั้น สามารถไปเปิดทวนได้ในหนังสือเล่ม 1 ที่ชื่อ “ ก้าวสู่นักบริหารจัดการใน 1 วัน ” ซึ่งจะกล่าวถึง 5 ส อย่างละเอียดทีเดียวแหละ . วันนี้เรามาทบทวนความทรงจําเกี่ยวกับ 5 ส พื้นฐานอย่างย่อ ๆ กันดูนะครับ 1. สะสาง ( Sort)              คือการจัดการแยกของดี - ของเสีย ให้ชัดเจน ไม่ปะปนกัน - การจัดการแยกแยะ ของที่ใช้ ไม่ใช้ ให้เป็นที่               คือการใช้มาตรการ ลด เลิก กําจัด สิ่งที่ไม่มีประโยชน์ออกไป   2. สะดวก ( Straighten) หยิบง่าย ไม่เสียเวลาค้นหา มีการจัดเก็บเป็นระบบ หาย ไม่ต้องถาม มองเห็นปุ๊บก็รู้ปับว่าหายไป                ดูงามตา สถานที่ทํางานสถานที่ทํางานการจัดเก็บต้องเป็นระบบและดูดีด้วย 3. สะอาด ( Scrub) การเช็ด กวาด ถู ขัด.. เป็นประจําอย่างสม่ําเสมอ         บ้านที่รกรุงรัง รถที่ดูเปื้อนเปรอะ...ไม่น่าดูฉันใด ในบริษัท หรือองค์กร ก็เป็นฉันนั้น ความสะอาด คือพื้นฐานในการสร้างคุณภาพ  และเป็นจุดตัดสินใจว่า 5 ส นั้น ทําได้ผลแล้ว 4. สแตนดาร์ด ( Standard) . คืองานมาตรฐานที่ทําขึ้นม

นโยบายการตั้งคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า

รูปภาพ
นโยบายการตั้งคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า           การกำหนดนโยบาย นโยบายในการตั้งคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า เพื่อให้คล้องกับวัตถุประสงค์ มีปัจจัยที่ใช้พิจารณาดังต่อไปนี้        1. ประเภทของอุตสาหกรรม รวมถึงปรัชญาของธุรกิจ ความเพียงพอของเงินลงทุน        2. ลักษณะของสินค้าซึ่งรวมถึง ขนาดสินค้า สินค้าที่เป็นฤดูกาล ความเน่าเสียง่ายของสินค้า   การทดแทนกันได้ของสินค้า และความเสื่อมของสินค้า        3. สภาวะทางเศรษฐกิจ และสภาวะของการแข่งขัน        4. กระบวนการผลิตที่ใช้ เช่น การใช้ระบบผลิตแบบทันเวลาพอดี     โดยถ้าพิจารณานโยบายการตั้งคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า ในการเป็นแหล่งสนับสนุนการผลิดจะอยู่ในรูปการจัดการวัสดุ ส่วนการสนับสนุนการตลาดจะอยู่ในรูปการกระจายสินค้าซึ่งสามารถอธิบายได้ดังนี้                สนับสนุนการผลิต  (Manufacturing Support) โดยคลังสินค้าจะทำหน้าที่ในการรวบรวมวัตถุดิบเพื่อใช้ในการผลิตชิ้นส่วน และส่วนประกอบต่างๆ จากผู้ขายวัตถุดิบ เพื่อส่งป้อนให้กับโรงงานเพื่อผลิตเป็นสินค้าสำเร็จรูปต่อไป           การผสมผลิตภัณฑ์ (Mixing) ในกรณีที่ลูกค้า

ความสำคัญของคลังสินค้า

รูปภาพ
ความสำคัญของคลังสินค้า   การประกอบกิจการค้าขายที่เกี่ยวกับสินค้าชนิดต่างๆ นั้นนับเป็นธุรกิจที่มีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศเป็นอย่างมากทีเดียว ไม่ว่าสินค้าจะเป็นผลผลิตทางการเกษตร หรือผลผลิตทางอุตสาหกรรมประเภทใดก็ตาม คลังสินค้านับเป็นเครื่องมือที่สำคัญในอันที่จะให้การประกอบธุรกิจค้าขายเกี่ยวกับสินค้าบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ได้ ในบทนี้จะกล่าวถึงความสำคัญโดยทั่วไปของคลังสินค้า และความสำเร็จต่อกิจการต่างๆ ดังจะได้แยกอธิบายเป็นแต่ละเรื่องไปดังต่อไปนี้            1. ความสำคัญโดยทั่วไป การกระจายสินค้าเป็นกิจกรรมเชื่อมต่อที่สำคัญกิจกรรมหนึ่งใน. ซัพพลายเชนจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภคและคลังสินค้าทำหน้าที่รักษาสมดุลระหว่างการบริโภค ซึ้งมีอัตราความต้องการขึ้นลงไม่แน่นอนและคาดหมายล่วงหน้าได้ยาก ส่วนการผลิตจะมีอัตราของผลผลิตเป็นปริมาณที่ค่อนข้างแน่นอนกว่า แม้ว่าการวางแผนการผลิตสินค้าต้องอาศัยอัตราการบริโภค หรืออุปสงค์ที่คาดการณ์ไว้ล่วงหน้า ซึ้งเป็นปัจจัยที่ไม่คงที่และไม่แน่นอนของความต้องการในการบริโภคซึ้งอาจทำให้เกิดความไม่สมดุลขึ้นได้ในห้วงเวลาใดเวลาหนึ่ง           คลังสินค้า

ความสัมพันธ์ระหว่างคลังสินค้ากับกิจกรรมโลจิสติกส์

รูปภาพ
ความสัมพันธ์ระหว่างคลังสินค้ากับกิจกรรมโลจิสติกส์ การจัดการคลังสินค้ามีความสัมพันธ์กับกิจกรรมโลจิสติกส์ ดังนี้           1. การผลิต การผลิตสินค้าจำนวนน้อยส่งผลให้จำนวนสินค้าคงคลังน้อยลงตามสัดส่วนและทำให้ต้องการพื้นที่จัดเก็บสินค้าน้อย แต่ในทางการผลิตจะมีการผลิตบ่อยครั้งซึ้งทำให้ต้นทุนการตั้งเครื่องจักร( Setup Cost) และต้นทุนการเปลี่ยนสายการผลิตสูงขึ้น ในทางตรงกันข้ามการเดินสายการผลิตเพื่อผลิตสินค้าจำนวนมาก ( Mass Product) ทำให้เกิดการประหยัดต่อขนาด ( Economies of Scale) ซึ้งทำให้ต้นทุนการผลิตต่อหน่วยต่ำ แต่สิ่งที่ตามมาคือเกิดสินค้าคงคลังของสินค้าสำเร็จรูปจำนวนมากและต้องการพื้นที่ในการเก็บสินค้ามากขึ้น ผู้บริหารจึงควรเปรียบเทียบ และหาทางเลือก ( Trade-offs) ระหว่างต้นทุนการผลิตที่สามารถประหยัดได้ และต้นทุนสินค้าคงคลังเพิ่มขึ้นทำให้ได้ต้นทุนรวมต่ำที่สุด ซึ้งสรุปกิจกรรมที่เกี่ยวข้องในการผลิตดังนี้       การสั่งซื้อ ( Purchasing) เพื่อรักษาสต็อกที่ได้จัดซื้อแล้ว เป็นสต็อกที่ได้ลงทุนแล้ว       การผลิต ( Production) เพื่อเก็บวัตถุดิบ ส่วนประกอบ งานระหว่างการผลิต รวมถึงการเก็

ปัญหาและอุปสรรคในการให้บริการโลจิสติกส์ของไทย ผู้ให้บริการของไทยประสบปัญหาและมีอุปสรรคที่ต้องได้รับการแก้ไขดังนี้

รูปภาพ
อุปสรรค รายละเอียด กฎหมายและระเบียบ ข้อบังคับด้าน โลจิสติกส์ ·         กฎหมายเกี่ยวกับการบรรทุกและความสูงของรถบรรทุก เช่น การจำกัดน้ำหนักรวมสำหรับรถบรรทุก 10 ล้อ ไว้ไม่เกิน 21 ตัน และความสูงไม่เกิน 4 เมตร ซึ่งผู้ประกอบการต้องให้การมีการแก้ไขกฎหมายเพื่อเพิ่มน้ำหนักและความสูงของรถบรรทุกโดยจะช่วยลดต้นทุนในการขนส่งสินค้ ·         กฎหมายและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับพิธีศุลกากร หรือระเบียบข้อบังคับของหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการนำเข้า - ส่งออก ยังไม่รองรับการทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ·         ไม่มีองค์กรกลางที่รับผิดชอบด้านโลจิสติกส์โดยตรงขึ้นกับหลายหน่วยงาน ·         ไม่มีกฎหมายกำกับและส่งเสริมผู้ให้บริการโลจิสติกส์ (LS) ·         กฎหมายด้านการขนส่งที่ล้าสมัย ไม่ได้อิงกฎหมาย/อนุสัญญาระหว่างประเทศ รวมถุงข้อตกลงด้านคุณภาพโลจิสติกส์ (AEC) โครงสร้างพื้นฐาน ·         ขาดระบบ Sing Windows ที่ลดการใช้กระดาษลงให้ทัดเทียมประเทศที่พัฒนาแล้ว ·         สถานีบรรจุแยกสินจ้ากล่อง (ICD) มีไม่เพียงพอ และไม่รองรับการเชื่อมต่อการขนส่ง

ชนิดของผู้ให้บริการโลจิสติดส์บุคลที่3

รูปภาพ
ชนิดของผู้ให้บริการโลจิสติดส์บุคลที่3 ผู้ให้บริการโลจิสติกส์บุคลที่3 มีพื้นฐานการให้บริการมาต่างกันการเลือกใช้บริการควรคำนึงถึงประสบการณ์ในอดีต และควรสอบเพื่อสร้างความมั่นใจจากกิจกรรมที่ผู้ให้บริการไม่มีความเชี่ยวชาญ ซึ่งมีหลายชนิดดังนี้ 1. พื้นฐานการขนส่ง ( Transportation Based): Rady, Schneider Logistics, FedEx Logistics, UPS Logistics, Eternity, Nimseeseng 2. พื้นฐานการคลังสินค้าและการกระจายสินค้า (Warehouse/Distribution Based): DSC Logistics, USC Logistics, IBM 3. พื้นฐานจากผู้จองระวาง (Forwarder Based): AEL, Kuehene & Nagie, Fritz,Circie, C.H. Robinson,Hub Group 4. พื้นฐานการบริการทางการเงิน (Financial Based): Cass Information Systems, CTC, GE Information Service, FleetBoston 5. พื้นฐานการสารสนเทศ (Information Based B2B, eMarket,Elogistics): Transplace,NIstevo                                                                                                                     นอกจากนั้น ผู้ให้บริการโลจิสติกส์บุคลที่3 ยังสามารถให้บริการพิเศษดังนี้ * ของแข็ง

มาตรฐานความปลอดภัยเชิงยุทธศาสตร์

มาตรฐานความปลอดภัยเชิงยุทธศาสตร์          เนื่องจากได้มีการศึกษาความเปราะบางของซัพพลานเชน และเครือข่ายต่างๆ พบว่ามีความเปราะบางเพิ่มขึ้นเนื่องจากเส้นทางการจัดหาแบบลีน และขยายควบคลุมระหวางศูนย์อำนวยความสะดวกที่มุ่งเน้นปฏิบัติการเฉพาะ ภายในเครือข่ายที่รวมตัวกัน ข้อมูลที่ได้พบจากการศึกษาเมื่อไม่นานมานี้ พบว่าในอังกฤษแสดงให้เราเห็นว่าแม้มีความเสี่ยงมากมายจากสภาพแวดล้อมภายนอกที่ส่งผลต่อความมั่นคงของซัพพลายเชนแต่มีหลักฐานชัดขึ้นเรื่อนๆว่าโครงสร้างของซัพพลายเชนเองที่ก่อให้เกิดความเปราะบางนี้ขึ้น การเน้นไปที่สินค้า คงคลังที่ลีนมากขึ้นเรื่อยๆและการจัดการออกไปยังประเทศโลกที่สาม ได้สร้างสถารการณ์ที่ทำให้เส้นทางอุปทานมีความยากมากขึ้นและสินค้าคงคลังขนาดเล็กลงมากขึ้น ดังนี้เมื่อซัพพลายเชนขาดออกจากกันเนื่องจากสภาพอากาศการเมืองที่ไม่มีเสถียรภาพ หรือเช่น การแพร่ระบาดของเชื้อโรค เมื่อไม่นานมานี้อาจส่งผลต่อแต่ละธุรกิจ และแต่ละอุตสาหกรรมหรือแต่ละเขตเศรษฐกิจอย่างหนักหน่วงมาก เป้าหมายของการศึกษานี้คือ การให้ผู้จัดการมีเครื่องมือใช้งานจริงหรือเพื่อให้แน่ใจได้ว่าซัพพลายเชนมีความยืดหยุ่นมากพอ การศึกษานี้ไ