มาตรฐานความปลอดภัยเชิงยุทธศาสตร์

มาตรฐานความปลอดภัยเชิงยุทธศาสตร์
    
    เนื่องจากได้มีการศึกษาความเปราะบางของซัพพลานเชน และเครือข่ายต่างๆ พบว่ามีความเปราะบางเพิ่มขึ้นเนื่องจากเส้นทางการจัดหาแบบลีน และขยายควบคลุมระหวางศูนย์อำนวยความสะดวกที่มุ่งเน้นปฏิบัติการเฉพาะ ภายในเครือข่ายที่รวมตัวกัน ข้อมูลที่ได้พบจากการศึกษาเมื่อไม่นานมานี้ พบว่าในอังกฤษแสดงให้เราเห็นว่าแม้มีความเสี่ยงมากมายจากสภาพแวดล้อมภายนอกที่ส่งผลต่อความมั่นคงของซัพพลายเชนแต่มีหลักฐานชัดขึ้นเรื่อนๆว่าโครงสร้างของซัพพลายเชนเองที่ก่อให้เกิดความเปราะบางนี้ขึ้น การเน้นไปที่สินค้า คงคลังที่ลีนมากขึ้นเรื่อยๆและการจัดการออกไปยังประเทศโลกที่สาม ได้สร้างสถารการณ์ที่ทำให้เส้นทางอุปทานมีความยากมากขึ้นและสินค้าคงคลังขนาดเล็กลงมากขึ้น ดังนี้เมื่อซัพพลายเชนขาดออกจากกันเนื่องจากสภาพอากาศการเมืองที่ไม่มีเสถียรภาพ หรือเช่น การแพร่ระบาดของเชื้อโรค เมื่อไม่นานมานี้อาจส่งผลต่อแต่ละธุรกิจ และแต่ละอุตสาหกรรมหรือแต่ละเขตเศรษฐกิจอย่างหนักหน่วงมาก เป้าหมายของการศึกษานี้คือ การให้ผู้จัดการมีเครื่องมือใช้งานจริงหรือเพื่อให้แน่ใจได้ว่าซัพพลายเชนมีความยืดหยุ่นมากพอ การศึกษานี้ได้ระบุความเสี่ยงไว้ 4 ระดับ
      ระดับ 1 กระบวนการสายธารคุณค่า
      ระดับ 2 การพึ่งพาสินทรัพย์และโครงสร้างพึ้นฐาน
      ระดับ 3 เครือข่ายองค์กรและเครือข่ายระหว่างองค์กร
      ระดับ 4 สภาพแวดสล้อม



หล่งสืบค้นข้อมูล : ดร.คำนาย อภิปรัชญาสกุล.//(2556).//มาตรฐานความปลอดภัยเชิงยุทธศาสตร์.//9 ตุลาคม 2561,/จาก/การจัดการคลังสินค้าและการกระจายสินค้า

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

การรับสินค้า(Receiving Operation)

ความสำคัญของคลังสินค้า

ความสัมพันธ์ระหว่างคลังสินค้ากับกิจกรรมโลจิสติกส์