ปัญหาและอุปสรรคในการให้บริการโลจิสติกส์ของไทย ผู้ให้บริการของไทยประสบปัญหาและมีอุปสรรคที่ต้องได้รับการแก้ไขดังนี้
อุปสรรค
|
รายละเอียด
|
กฎหมายและระเบียบ
ข้อบังคับด้าน
โลจิสติกส์
|
·
กฎหมายเกี่ยวกับการบรรทุกและความสูงของรถบรรทุก
เช่น การจำกัดน้ำหนักรวมสำหรับรถบรรทุก 10 ล้อ ไว้ไม่เกิน 21 ตัน
และความสูงไม่เกิน 4 เมตร ซึ่งผู้ประกอบการต้องให้การมีการแก้ไขกฎหมายเพื่อเพิ่มน้ำหนักและความสูงของรถบรรทุกโดยจะช่วยลดต้นทุนในการขนส่งสินค้
·
กฎหมายและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับพิธีศุลกากร
หรือระเบียบข้อบังคับของหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการนำเข้า-ส่งออก ยังไม่รองรับการทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์
·
ไม่มีองค์กรกลางที่รับผิดชอบด้านโลจิสติกส์โดยตรงขึ้นกับหลายหน่วยงาน
·
ไม่มีกฎหมายกำกับและส่งเสริมผู้ให้บริการโลจิสติกส์(LS)
·
กฎหมายด้านการขนส่งที่ล้าสมัย ไม่ได้อิงกฎหมาย/อนุสัญญาระหว่างประเทศ
รวมถุงข้อตกลงด้านคุณภาพโลจิสติกส์(AEC)
|
โครงสร้างพื้นฐาน
|
·
ขาดระบบ Sing
Windows ที่ลดการใช้กระดาษลงให้ทัดเทียมประเทศที่พัฒนาแล้ว
·
สถานีบรรจุแยกสินจ้ากล่อง(ICD)มีไม่เพียงพอ
และไม่รองรับการเชื่อมต่อการขนส่งกับสถานที่รวบรวมและกระจายสินค้าใน๓มิภาค
·
การขนส่งสินค้าทางรถไฟไม่ได้รับความนิยมเท่าที่ควรอันเนื่องมาจากขาดการปรับปรุงบริการและการพัฒนาอย่างต่อเนื่องไม่สามารถใช้เครื่องมืออุปกรณ์ได้อย่างเต็มที่ความเร็วช้าต้นทุนแพง
·
ช่องทางการผ่านเข้าออกทางเรือแหลมฉบังมีความแออัดไม่สอด
·
คล้องกับปริมาณสินค้าที่มาใช้บริการและการขยายตัวในอนาคต
·
ถนนทางผ่านเข้า-ออกศูนย์กระจายสินค้าที่ราดกระบังมีสภาพชำรุด การจราจรติดขัดทำให้การขนส่งสินค้าล่าช้าหรืออาจเกิดความเสียหายจากการขนส่งได้
|
บุคลากรและองค์ความรู้ทางโลจิสติกส์
|
·
ผู้ประกอบการขากความรู้ความเข้าใจในการจัดการด้านโลจิสติกส์และการนำเทคโนโลยีมาใช้ในโลจิสติกส์ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
·
ขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู้และสามารถประยุคใช้การจัดการการโลจิสติกส์ที่สามารถถ่ายทอดความรู้และสามารถและสามารถถ่ายทอดความรู้ให้บุคลากรทั้งในระดับบริหารและระดับปฏิบัติการ
|
อุปสรรค
|
รายละเอียด
|
บุคลากรและองค์ความรู้ทางโลจิสติกส์
|
·
ขาดข้อมูลด้านโลจิสติกส์ทั้งในระดับมหภาคและจุลภาค
รวมถึงข้อมูลของทางภาครัฐและเอกชน เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ในการวางแผนวิเคราะห์และปฏิบัติการด้านโลจิสติกส์ให้มีความเหมาะสม
·
การขาดความรู้ในการจัดการเชิงกลยุทธ์
เพื่อรับมือกับการแข่งขันกับธุรกิจข้ามชาติขนาดใหญ่
|
การพัฒนาของผู้ให้บริการโลจิสติกส์
|
·
ขาดกฎหมายที่เอื้อต่อการประกอบการธุรกิจโลจิสติกส์
ทำให้เกิดความไม่ชัดเจนในการดำเนินกิจการเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาผู้ประกอบเป็นอย่างมาก
·
ขาดการส่งเสริมทางด้านสิทธิพิเศษเพื่อช่วยเหลือและจูงใจในการส่งเสริมให้เกิดผู้ประกอบการเพิ่มมากขึ้น
·
ขาดความรู้ความชำนาญรวมถึงทักษะที่จำเป็นในการดำเนินงาน
·
ผู้ประกอบการมาสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนจากธนาคารเนื่องจากขาดหลักทรัพย์ที่ใช้ในการค้ำประกันประกอบกับธนาคารยังขาดความเข้าใจเกี่ยวกับธุรกิจโลจิสติกส์ดีพอ
จึงเป็นเป็นอุปสรรคต่อการอนุมัติสินเชื่อให้แก่ผู้ประกอบการทำให้เป็นข้อจำกัดในการพัฒนา
·
ซอฟท์แวร์เฉพาะด้านที่ใช้ในการดำเนินธุรกิจมีราคาสูงมากและมีคุณสมบัติม่สอดคล้องเหมาะสมกับควาต้องการการใช้งานของผู้ประกอบการ
·
สิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆของภาครัฐไม่สนับสนุนการทำธุรกิจ
·
ขาดแนวนำแนวทางปฏิบัติที่ดีและการกำหนดดัชนีวัดผลการดำเนินงานในการประเมินศักยภาพและประสิทธิภาพในการดำเนินงานโลจิสติกส์
·
ผู้ประกอบการโลจิสติกส์ไทย
ขาดเครือข่ายในการเชื่อมต่อกับต่างประเทศเนื่องจากไม่มีพันธมิตรในการดำเนินธุรกิจระหว่างประเทศส่งผลให้มีเครือข่ายการจัดการโลจิสติกส์มีน้อยกว่าผู้ประกอบการจากต่างประเทศ
·
ลูกค้าขาดความรู้ความเข้าใจ
และไม่เห็นประโยชน์ในการใช้บริการด้านโลจิสติกส์จากผู้ให้บริการเฉพาะด้านโลจิสติกส์ซึ่งจะส่งผลต่อตวามสามารถในการแข่งขันในระยะยาว
·
ภาครัฐไม่กำหนดมาตรฐานผู้ให้บริการโลจิสติกส์และมีหลักสูตรการพัฒนาเพื่อยกระดับผู้ประกอบการไทยในการให้บริการโลจิสติกส์
|
แหล่งสืบค้นข้อมูล : ดร.คำนาย อภิปรัชญาสกุล.//(2556).// ปัญหาและอุปสรรคในการให้บริการโลจิสติกส์ของไทย ผู้ให้บริการของไทยประสบปัญหาและมีอุปสรรคที่ต้องได้รับการแก้ไขดังนี้)//20ธันวาคม 2561,/จาก/การจัดการคลังสินค้าและการกระจายสินค้า
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น