บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กันยายน, 2018

การรับสินค้า(Receiving Operation)

รูปภาพ
การรับสินค้า (Receiving Operation)       1. รูปแบบสินค้า การควบคุมการรับสินค้าส่วนมากอยู่ในความรับผิดชอบของผู้ควบคุมงานคลังสินค้   ซึ้งสามารถควบคุมให้ระดับการไหลของคำสั่งซื้อเพื่อไม่ให้เกิดการกระจุกตัวของการรับสินค้าและไม่ส่งผลกระทบในพื้นที่ทำงานอื่น รูปแบบการรับสินค้าเข้าคลังสินค้าสามารถรับมาจาก 2 แหล่งดังนี้  -จากผู้ขายปัจจัยการผลิต สินค้าจะอยู่ในรูปวัตถุดิบ ชิ้นส่วนประกอบ และสินค้าสำเร็จรูป  -จากหน่วยการผลิต โดยการรับสินค้าที่มาจากโรงงานอื่นที่ห่างจากคลังสินค้า โดยสินค้าจะอยู่ในรูป          สินค้าสำเร็จรูปสำหรับการจัดส่ง และงานระหว่างกระบวนการผลิตที่ต้องจัดเก็บไว้จนกว่าจะเป็นสินค้าสำเร็จรูป       2 .วัตถุประสงค์ของการรับสินค้า การรับวัสดุหรือสินค้า จากผู้ขายภายในหรือภานนอก โดยต้องนำลงจากรถให้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากที่สุดทำให้จัดเก็บได้ และตรวจสอบปริมาณ ชนิด เงื่อนไขของวัสดุหรือสินค้าว่าเป็นไปตามที่กำหนดในใบคำสั่งซื้อ       3.ปัจจัยพื้นฐานเกี่ยวกับความต้องการแรงงาน คือ ความถี่ ปริมาณสินค้าที่รับเข้าคลังสินค้า และวิธีการรับสินค้า ความสามารถนำเข้าจัดเก็บยังพื้น

เทคโนโลยีอัตโนมัติ(Automated Technology)

รูปภาพ
  เทคโนโลยีอัตโนมัติ (Automated Technology)          เทคโนโลยีอัตโนมัติมีหลายประเภท เช่น สายพานลำเลียง เทคโนโลยีหุ่นยนต์ และรวมถึงระบบบาร์โค้ด เป็นอุปกรณ์ที่นิยมใช้ในคลังสินค้า เป็นผลให้ธุรกิจสามารถพัฒนาประสิทธิภาพ และเพิ่มผลในการให้บริการเคลื่อนย้าย และยกสินค้าเพิ่มขึ้น อุปกรณ์ในเทคโนโลยีอัตโนมัติที่นิยมใช้มีดังนี้       1. ระบบจัดเก็บและหยิบสินค้าอัตโนมัติ (AS/RS) อุปกรณ์ในเทคโนโลยีอัตโนมัติ มีการพัฒนาระบบดำเนินการคำสั่งซื้อด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบจัดเก็บและหยิบสินค้าอัตโนมัติเป็นระบบที่มีความสำคัญ โดยระบบเทคโนโลยีอัตโนมัติมีแบบใช้พาเลทและแบบกล่อง                      2.คะโรเซลแนวราบ (Horizontal Carousel) เป็นรูปแบบหนึ่งของเทคโนโลยีหุ่นยนต์          ซึ้งมีลักษณะเป็นอุปกรณ์หยิบสินค้าที่สมามรถเคลื่อนที่ไปทางแนวนอน โดยใช้แกนหมุนที่ตั้งฉากกับพื้นแนวราบทำให้ชั้นวางสินค้าสามารถหมุนได้ตามแนวนอนด้วนความเร็วประมาณ10เมตรต่อนาที       3.คะโรเซลแนวตั้ง (Vertical Carousel) หน้าที่ต่างๆเหมือนกับคะโรเซลแนวราบ ต่างกันตรงที่สามารถเคลื่อนที่ไปทางแนวตั้ง ซึ้งจะทำให้สินค้าสามารถเคลื่อ

มาตรการความปลอดภัยระดับนานาชาติ

มาตรการความปลอดภัยระดับนานาชาติ การก่อการร้ายและอาชญากรรมเกิดขึ้นกับรถยนต์และสินทรัพย์ได้กลายมาเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวันและในโลกปัจจุบัน พื้นที่ตะวันออกกลางบางประเทศ พื้นที่3 จังหวัดชายแดนใต้ก็เกิดรายวัน ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกันต้นทุนเหล่านี้วัดเป็นปริมาณได้ยาก   ตั้งแต่การโจมตีตึก World   Trade center นิวยอร์ก และ เพนตากอนในวอชิงตัน ดี.ซี. เรื่องความปลอดภัยด้าน โลจิสติกส์ได้กลายมาเป็นเรื่องที่รัฐบาลประเทศต่างๆสนใจมากขึ้นริเริ่มขึ้นเพื่อความเป็นไปได้ที่เกิดจากการโจมตีอีกครั้ง ทุกคนรู้ว่าการก่อการร้ายคงไม่จำกัดอยู่ที่สหรัฐอเมริกาเพียงประเทศเดียว และเราต้องตั้งข้อสงสัยเกี่ยวกับความเปราะบางของซัพพลายเชนมากขึ้นการวางแผนเรื่องความปลอดภัยด้าน โลจิสติกส์และมาตรการระดับนานาชาติมีดังนี้ 1.1 มาตรการความปลอดภัยสินค้าสหรัฐอเมริกา เนื่องจากว่าสหรัฐอเมริกาเป็นพื้นที่ เศรษฐกิจที่สุดในโลกใหญ่ และเป็นเหยื่อของการโจมตีเมื่อวันที่ 11 กันยายน จึงน่าพิจารณามาตรการที่สหรัฐอเมริกาบังคับใช้เพื่อป้องกันการโจมตีในอนาคตอย่างละเอียดมากขึ้น 1.2 พันธมิตรด้านการค้าและศุลกากรเพื่อต่อต้านการก่อการร้าย ระบบน

การจัดการควบคลุมสินค้าคงคลังแบบทันเวลาพอดี

รูปภาพ
การจัดการควบคลุมสินค้าคงคลังแบบทันเวลาพอดี            กระบวนการในการปรับปรุงการเพิ่มผลิตภาพการผลิตโดยการเน้นคุณภาพสูงและต้นทุนต่ำก็คือระบบการผลิตแบบทันเวลาพอดีหรื just in Time ( JIT )เป็นระบบการผลิตที่ได้รับการพัฒนาและส่งเสริมโดยกลุ่มของบริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ในประเทศญี่ปุ่นและต่อมาได้ถูกนำไปใช้ในหลายๆบริษัท ในญี่ปุ่นละแพร่หลายทั่วไปโลก   และได้ถูกเรียกชื่อแตกต่างกันไป เช่น GE เรียกว่าการบริหารคามสิ่งที่มองเห็น IBM การผลิตแบบไหลต่อเนื่อง Hewlett packard เรียกว่า การผลิตแบบไร้สต็อก และการผลิตแบบซ้ำ General Motors เรียกว่าการผลิตแบบสอดคล้อง และบริษัทในญี่ปุ่นหลายๆบริษัทเรียกว่า ระบบการผลิตแบบโตโยต้า ปัจจุบันแนวความคิดเกี่ยวกับการผลิตแบบ ญี่ปุ่น มีการพิสูจน์ว่ามีประสิทธิภาพ เสริมสร้างความได้เปรียบ ในการแข่งขันแก่ธุรกิจ และช่วยสร้างความมั่งคั่งแก่ประเทศ ระบบทันเวลาพอดี ( JIT )เป็นหนึ่งในเทคนิคการผลิตของญี่ปุ่นที่พัฒนาโดยผู้บริหารของกลุ่มโตโยต้า ซึ่งได้รับการยอมรับและนำไปใช้ในหลายธุรกิจ  แหล่งสืบค้นข้อมูล : ดร.คำนาย อภิปรัชญาสกุล.//( 2556).// คลังสินค้าสาธารณะ .// 26 กันยายน

คลังสินค้าสาธารณะ

รูปภาพ
คลังสินค้าสาธารณะ                 คลังสินค้าสาธารณะเป็นกิจการทางธุรกิจที่เป็นเอกเทศเฉพาะ ไม่ใช่เป็นส่วนหนึ่งของกิจการหลักอย่างอื่นและเป็นกิจการแขนงหนึ่งของอุตสาหกรรมบริการ กิจกรรมในหน้าที่คลังสินค้าสาธารณะก็คือการจัดให้มีสิ่งอำนวยความสะดวกในการเก็บรักษาสินค้าและให้บริการในการจัดเก็บรักษาสินค้ารวมทั้งให้บริการต่างๆเกี่ยวกับสินค้านั้นเพื่อบำเหน็จตอบแทนเป็นการค้าปกติของกิจการ หรือคลังสินค้าสาธารณะอาจเป็นคลังสินค้าที่จัดตั่งขึ้นในรูปของบริษัทจำกัด มีวัตถุประสงค์ในการดำเนินงานเกี่ยวกับการให้บริการ รับฝากสินค้าและบริการอื่นๆ ที่เกี่ยวกับคลังสินค้าโดยเฉพาะ ทั้งนี้เพื่อหลังค่าตอบแทนจากการให้บริการนั้น ในประเทศไทยการจัดตั้งคลังสินค้าสาธารณะ จะต้องได้รับอนุญาตจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์และประกอบกิจการภายใต้เงื่อนไขการควยคุมของกระทรวงพาณิชย์ด้วย                                    การประกอบกิจการคลังสินค้าสาธารณะ เป็นการค้าประเภทที่ถือว่ามีผลกระทบต่อความปลอดภัยและผาสุกของสาธารณะชน ดังนั้นการจัดตั้งคลังสินค้าและการดำเนินงานต้องให้เป็นไปตามบทบัญญัติของกฎหมาย ข้อบังคับ และเงื่อนไขควบ

บทบาทเชิงกลยุทธ์ของการพยากรณ์

รูปภาพ
บทบาทเชิงกลยุทธ์ของการพยากรณ์ ในยุคปัจจุบันการจัดการซัพพลายเชนครอบคลุมถึงโรงงาน โครงสร้างพื้นฐาน หน้าที่ของฝ่ายต่างๆในบริษัท กิจกรรมที่ผลิตสินค้าและการบริการจากผู้ขายปัจจัยการผลิต รวมถึงผู้ขายปัจจัย การผลิตในทุกชั้นถัดไปลูกค้า และลูกค้าของลูกค้าในทุกระดับรวมถึงกิจกรรมการจัดซื้อ สินค้าคงคลัง การผลิต ตารางกำหนดการผลิตและการกำหนดทำเลที่ตั้งโรงงานและคลังสินค้าการขนส่ง และการกระจายสินค้าส่งผลกระทบในระยะสั้นคือ การจัดการอุปสงค์ของสินค้า ส่วนระยะยาวจะเกี่ยวกับการออกผลิตภัณฑ์ใหม่ และกระบวนการผลิต ความล้ำหน้าทางเทคโนโลยี และการเปลี่ยนตลาด ซึ่งต้องมีการพยากรณ์ในส่วน ที่ได้รับผลกระทบทั้งระยะสั้นและระยะยาว โดยระยะสั้นจะมองที่การพยากรณ์ที่แม่นยำซึ่งเป็นตัวบ่งชี้แนวทางในการเก็บสินค้าคงคลังที่กระจายอยู่ในจุดต่างๆ ในระยะยาวต้องมองการเปลี่ยนแปลลงของโลก ทั้งทางเทคโนโลยี ตลาดในต่างประเทศคู่แข่งและปัจจัยภายนอกทั้งหมด ไม่ว่าเป็นเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ลูกค้า การเปลี่ยนแปลงตลาดใหม่ แนวโน้มการออกแบบซัพพลายเชนคือ การเติมสินค้าอย่างต่อเนื่องซึ่งเกี่ยวข้องกับผู้ขายสินค้า โดยใช้ยอดขายที่เชื่อมต่อผ่านอ